บรรณานุกรม รายงาน เว็บไซต์

(ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์. จากรูปแบบข้างต้น จะเห็นว่าองค์ประกอบของการเขียนอ้างอิงประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ ชื่อสกุลผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ ชื่อเรื่อง เมืองที่พิมพ์และสำนักพิมพ์ โดยการลงรายละเอียดในแต่ละส่วนจะมีหลักเกณฑ์ดังนี้ หลักการลงชื่อผู้แต่ง 1. กรณีที่มีผู้แต่ง 1 คน หากผู้แต่งเป็นชาวไทยให้ใส่ชื่อ เว้นวรรคตามด้วยสกุล เช่น แววรัตน์ โชตินิพัทธ์ Waeorath Chotnipat หากผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ (ไม่ว่างานเขียนจะเป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ) ให้ใส่ชื่อสกุล ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค เว้นวรรคหนึ่งครั้ง ตามด้วยอักษรย่อชื่อต้น เว้นวรรคหนึ่งครั้ง และตามด้วยอักษรย่อชื่อกลาง (ถ้ามี) ยกตัวอย่างเช่น ผู้เขียนชื่อ Andrew T. Stephen จะลงชื่อผู้แต่งได้ว่า Stephen, A. T. หรือ สตีเฟน, เอ. ที. 2. กรณีที่มีผู้แต่ง 1 - 7 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งตามที่ปรากฏ 1 - 7 คนโดยงานเขียนที่เป็นภาษาไทย ให้คั่นทุกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค และใส่คำว่า 'และ' นำหน้าชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย ยกตัวอย่างเช่น เกวลิน คุลานนท์, ธาวิศ ข้ามแยก, โอฬาร มิตรชอบ, อรัญ อรุณสาดแสง, อารียา สูงค่า, ไอริน แสงสว่าง และ กฤษณ์ รับสาร สำหรับงานเขียนภาษาต่างประเทศให้ใช้หลักเดียวกัน แต่เปลี่ยนคำว่า 'และ' หน้าชื่อผู้แต่งคนสุดท้ายเป็นเครื่องหมาย & เช่น Smith, T., Rana, R. S., Missiaen, P., Rose, K. D., Sahni, A., Singh, H., & Singh, L. การเขียนรายชื่อผู้แต่งภาษาต่างประเทศเพื่อน ๆ ต้องระวังการใช้เครื่องหมายมหัพภาค (. )

  1. ขนมไทย: บรรณานุกรม
  2. หนังสืออ้างอิง คืออะไร มีกี่ประเภท? | ชุมชนชาวการจัดสารสนเทศ
  3. ตัวอย่าง การเขียนบรรณานุกรม จากเว็บไซต์

ขนมไทย: บรรณานุกรม

ตัวอย่าง การเขียนบรรณานุกรม จากเว็บไซต์ ผู้แต่ง. /(ปีพิมพ์). // ชื่อบทความ. /สืบค้น หรือ Retrieved/วัน เดือน ปี, //จาก หรือ from/ สรญา แสงเย็นพันธ์. (2561). มาทำความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที. สืบค้น 18 กันยายน //////// 2562, จาก สำนักพิมพ์มหาวิทยาบัยนเรศวร. (2564). 16 โรคในเด็ก กับการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ. สืบค้น 4 กันยายน 2564. //////// จาก รคในเด็ก Evan Brown, (2018), The Good Book Of Colors: The Essential Guide For Business. Retrieved 29 April 2020, //////// from.

หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources) เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับชื่อทางภูมิศาสตร์ เช่น ตำแหน่งที่ตั้ง ลักษณะ ในบางครั้งมีแผนที่และภาพประกอบไว้อย่างชัดเจน หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์แบ่งย่อยได้ 3 ประเภท คือ 6. 1 อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ (Gazetteer) เป็นหนังสือที่กล่าวถึงชื่อทางภูมิศาสตร์ เช่น เมือง ประเทศ ทวีป มหาสมุทร ห้วย หนอง คลอง บึง ภูเขา แม่น้ำ สถานที่สำคัญๆ 6. 2 หนังสือนำเที่ยว (Guide Books) เป็นหนังสือคู่มือสำหรับการท่องเที่ยว ให้รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่น่าเที่ยว สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่พักอาศัยค้างคืน การคมนาคม 6. 3 หนังสือแผนที่ (Atlases) เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับที่ตั้งและอาณาเขตของทวีป ประเทศ เมือง มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ ภูเขา ฯลฯ โดยใช้สีและสัญลักษณ์แทนคำอธิบาย 7. หนังสือคู่มือ (Handbooks) เป็นหนังสือที่ให้คำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงหลายอย่างที่เกี่ยวกับวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น หนังสือคู่มือวิชาเคมี หนังสือคู่มือซ่อมรถยนต์ 8. สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) คือหนังสือหรือเอกสารที่ทางรัฐบาล และหน่วยงานราชการต่าง ๆ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานทางราชการ แสดงถึงผลงานที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว และความก้าวหน้าของหน่วยงาน สิ่งพิมพ์ รัฐบาลที่ควรรู้จัก ได้แก่ 8.

หนังสืออ้างอิง คืออะไร มีกี่ประเภท? | ชุมชนชาวการจัดสารสนเทศ

- มยผ. 1301/1302-61 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว - คลื่นแผ่นดินไหวประกอบมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหว(มยผ. 1301/1302-61) - คู่มือการปฏิบัติประกอบมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือน ของแผ่นดินไหว (ดาวน์โหลดได้ที่ หมวดหมู่ "เอกสารด้านโยธาธิการ") กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย - มยผ. 1281-63 ถึง มยผ. 1288-63 ชุดมาตรฐานการทดสอบวัสดุสังเคราะห์ทางปฐพี - มยผ. 1101-64 ถึง มยผ. 1106-64 มาตรฐานกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุใช้ในงานโครงสร้างอาคาร - มยผ. 1101: มาตรฐานงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก - มยผ. 1102: มาตรฐานงานคอนกรีตอัดแรง - มยผ. 1103: มาตรฐานงานเหล็กเสริมคอนกรีต - มยผ. 1104: มาตรฐานงานไม้ - มยผ. 1105: มาตรฐานงานฐานราก - มยผ. 1106: มาตรฐานงานเสาเข็ม - มยผ. 1902-62 มาตรฐานการตรวจสอบ การประเมิน การซ่อมแซม และการเสริมความมั่นคงแข็งแรงโครงสร้างอาคารเก่าและโครงสร้างอาคารที่เสียหาย - คู่มือตรวจสอบและประเมินโครงสร้างอาคาร - คู่มือการซ่อมแซมโครงสร้างอาคาร - คู่มือเสริมสร้างความมั่นคงแข็งแรงโครงสร้างอาคาร (ดาวน์โหลดได้ที่ หมวดหมู่ "เอกสารด้านโยธาธิการ") - มยผ.

2 การค้นหาคำตอบจากหนังสือรายปี ต้องพิจารณาเสียก่อนว่าเรื่องที่ต้องการค้นนั้นควรจะไปค้นจากหนังสือรายปีประเภทใด 4. อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionary) อักขรานุกรมชีวประวัติ คือ หนังสือที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับชีวประวัติบุคคลสำคัญในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัว ตำแหน่งหน้าที่การงาน และผลงานที่ดีเด่นของบุคคลเหล่านั้น การใช้อักขรานุกรมชีวประวัติมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 4. 1 เมื่อต้องการเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของบุคคล เช่น เกิดปีใด ตายปีใด แต่งงานกับใคร มีบุตรกี่คน มีผลงานที่สำคัญอะไรบ้าง 4. 2 ก่อนลงมือค้นหา ให้คิดเสียก่อนว่า ชีวประวัติของบุคคลที่ต้องการค้นนั้นเป็นใครชาติใด อาชีพอะไร ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ เมื่อได้คำตอบแล้วจึงไปเลือกหนังสือที่น่าจะมีชีวประวัติของบุคคลนั้น 5. นามานุกรมหรือทำเนียบนาม (Directories) เป็นหนังสือที่รวบรวมและให้ความรู้เกี่ยวกับชื่อบุคคล องค์การ สถานทูต กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ มักจัดเรียงตามลำดับตัวอักษรของชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน และอธิบายถึงชื่อนั้น ๆ โดยบอกตำบลที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์และข้อความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ และ The Siam Directory, the Book of Facts & Figure 6.

ตัวอย่าง การเขียนบรรณานุกรม จากเว็บไซต์

1 ราชกิจจานุเบกษา คือ เรื่องสำคัญที่หน่วยงานของรัฐต้องการประกาศให้ประชาชนทราบอย่างกว้างขวาง ได้แก่ 1. เรื่องที่กฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องส่งไปลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ. ศ. 2540 3. เรื่องที่กฎหมายมิได้บัญญัติให้ต้องประกาศหรือส่งพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา แต่เป็นเรื่องสำคัญที่สมควรเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ 8. 2 รายงานประจำปีของหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ 9. หนังสือบรรณานุกรม (Bibliography) คือ สิ่งพิมพ์ที่รวบรวมรายชื่อหนังสือหรือบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีวิธีการจัดทำและเรียบเรียงให้สะดวกในการใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทราบว่ามีหนังสืออะไร หรือบทความใดบ้างในหัวเรื่อง (Subject Heading) ที่ต้องการศึกษาค้นคว้า 10. หนังสือธรรมดาจัดเป็นหนังสืออ้างอิง (Borderline Book) ห้องสมุดบางแห่งอาจนำหนังสือที่มีลักษณะและเนื้อหาทั่วไปมาจัดทำเป็นหนังสืออ้างอิงตามความจำเป็นของแต่ละที่ หนังสือในกลุ่มนี้ได้แก่ 10. 1 ประชุมพงศาวดาร เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับพงศาวดาร ตำนานต่าง ๆ เรื่องราวของชาติไทย และจดหมายเหตุ 10.

บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง (Bibliography หรือ References) ซึ่งก็คือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทุกชนิด ทั้งหนังสือ อินเตอร์เน็ต เอกสาร ข่าว ฯลฯ ซึ่งการเขียนบรรณานุกรมต้องเขียนให้มีแบบแผนชัดเจน ตามรูปแบบการอ้างอิงบรรณานุกรมแบบต่างๆ เช่น *** การเขียนบรรณานุกรมทุกชนิด หากเขียนไม่จบใน 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปให้ย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 อักษร *** หนังสือ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / ครั้งที่พิมพ์. / / สถานที่พิมพ์ /: / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์. ตัวอย่าง สุภาพรรณ ณ บางช้าง. ขนบธรรมเนียมประเพณี: ความเชื่อและแนวการปฏิบัติใน สมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535. Herren, Ray V. The Science of Animal Agriculture. Albany, N. Y. : Delmar Publishers, 1994. หนังสือแปล ผู้แต่ง. / / แปลโดย ผู้แปล. ตัวอย่าง สตีเวนสัน, วิลเลียม. นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ. ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง, 2536. Grmek, Mirko D. History of AIDS: Emerging and Origin of a Modern Pandemic.

October 7, 2022