พร บ ยา | พรบ ยา ภาษาอังกฤษ

สต. หรือผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพอื่น จริงหรือ? จากเหตุผลที่ อย. หยิบยกขึ้นมาว่า การเปิดช่องให้วิชาชีพอื่นมีอำนาจสั่งจ่ายยา ก็เพื่อเอื้อต่อการทำงานของพยาบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. ) ให้สามารถจ่ายยาได้ เนื่องจากก่อนหน้านี้ไม่มีกฎหมายรองรับ ภก. ปรุฬห์ อธิบายว่า ในความเป็นจริง การผลิตยา การขายยา รวมถึงการจ่ายยานั้น เป็นการกระทำโดยกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งมีหน้าที่ป้องกันหรือรักษาโรค จึงได้รับการยกเว้นใบอนุญาตอยู่แล้ว ตามพระราชบัญญัติยา พ. 2510 มาตรา 13 (1) (3) ดังนั้น โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง รวมถึง รพ. จึงได้รับการคุ้มครองโดยอัตโนมัติ คนที่ทำงานในสถานพยาบาลเหล่านี้ก็เช่นกัน การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายก็ได้รับความคุ้มครองโดยอัตโนมัติ จึงไม่จำเป็นต้องแก้กฎหมายยาในส่วนนี้แต่อย่างใด การแก้กฎหมายในส่วนนี้กลับจะทำให้คลินิก (สถานพยาบาลเอกชน) ได้รับการยกเว้นในการจ่ายยาที่เกินกว่าสมรรถนะด้านยาที่มีอยู่ และมีความเสี่ยงที่จะขายยาโดยไม่ได้รับอนุญาต (ทำเกินกว่าการ 'จ่ายยาให้ผู้ป่วยเฉพาะราย') เปิดช่องโฆษณายาสะพัด ในความเห็นของ ภก. ปรุฬห์ มองว่า ร่าง พ. ยา มีการลดมาตรฐานการอนุญาตโฆษณา จากเดิมที่ต้องขออนุญาตทั้งหมด โดยเปิดช่องให้มีการจดแจ้งโฆษณาซึ่งลดระดับความเข้มงวดในการตรวจสอบเนื้อหาก่อนการโฆษณา ทำให้ผู้บริโภคเสี่ยงต่อการได้รับโฆษณาเกินจริงนำไปสู่การซื้อยามาใช้อย่างไม่ปลอดภัย นอกจากนี้ ร่าง พ.

  1. พรบ ยา 2562
  2. เสพติดให้โทษ ฉบับที่ 5
  3. กฎหมายใหม่ เสพติด 2564

พรบ ยา 2562

กองยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ติดต่อเรา

MINISTRY OF PUBLIC HEALTH FOOD DIVISION กฎหมายกระทรวงสาธารณสุข Law and Regulation

พ. ร. บ. ยา พ. ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ. 2530 เป็นกฎหมายเก่าแก่ที่บังคับใช้มานานกว่า 30-50 ปี ล้าสมัยเมื่อเทียบกับสถานการณ์ปัจจุบัน ปี 2557 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย. ) ในฐานะหน่วยงานรัฐผู้รับผิดชอบเรื่องยา จึงมีความพยายามที่จะปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย แต่ด้วยเนื้อหาในการยกร่างเต็มไปด้วยเครื่องหมายคำถามจากแวดวงวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ทำให้ร่างกฎหมายฉบับนี้มีอันต้องชะงักไป ปี 2561 อย. พยายามปัดฝุ่นใหม่อีกครั้ง โดยล่าสุดได้เปิดรับฟังความเห็นในช่วงวันที่ 17-31 กรกฎาคม 2561 ผ่านทางเว็บไซต์ พร้อมอ้างว่ามีความโปร่งใส ถือประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก หากเป็นจริงอย่างที่ อย. กล่าวอ้าง เหตุใดจึงเกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง องค์กรวิชาชีพด้านเภสัชกรรมหลากหลายสถาบันต่างพากันตบเท้าคัดค้าน ลุกลามถึงขั้นเรียกร้องให้ต้องยกเลิการเสนอร่างกฎหมายต่อไปยัง ครม. ดังเช่นเครือข่ายเภสัชกรทั่วประประเทศที่ตั้งคำถามว่า ร่าง พ. ยา ฉบับ 'ลับ-ลวง-พราง' ของ อย. เอื้อประโยชน์ประชาชนจริงหรือ หลายฝ่ายแสดงความกังวลว่า ร่าง พ. ยาฉบับนี้ อาจส่งผลเสียมากกว่าผลดี ฉุดรั้งให้ประเทศถอยหลังแทนที่จะก้าวหน้า โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของระบบยา หลักการคุ้มครองผู้บริโภค และหลักการตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างวิชาชีพ ซึ่งสรุปปัญหาสำคัญได้ ดังนี้ รับฟัง…แต่ไม่แก้ไข ภายหลังจากการเปิดรับฟังความเห็นผ่านทางเว็บไซต์ นพ.

เสพติดให้โทษ ฉบับที่ 5

เนื่องจากพระราชบัญญัติยา พ. ศ. 2510 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันซึ่งมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและการขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับยา และเพื่อให้กระบวนการพิจารณาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สมควรปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับบทนิยาม เพิ่มหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการศึกษาวิจัยยา การอ้างอิงมาตรฐานที่เป็นสากล การกำหนดอายุ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา กระบวนการพิจารณาอนุญาตยา บทกำหนดโทษ และปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตรา พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ 6) พ. 2562 พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (ประกาศในาชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 50 ก วันที่ 16 เมษายน 2562 หน้า 220-228) ขอเชิญผู้เกี่ยวข้อง/ ผู้สนใจศึกษารายละเอียด/ download เอกสาร ได้ที่เวส็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา () หรือกดที่ link ต่อไปนี้ พระราชบัญญัติ ยา (ฉบับที่ 6) พ. 2562 ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา วันที่ประกาศข่าว: 16 เม. ย. 2562 - จำนวนผู้เข้าชม 9027 View ชั้น 5 อาคาร 3 กองบริหารการสาธารณสุข ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อ.

พร บ ยาเสพติดให้โทษ ฉบับที่ 5

กฎหมายใหม่ เสพติด 2564

กฎกระทรวง ว่าด้วยการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ พ. ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๙๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.

เมือง จ. นนทบุรี 11000 © 2019 ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข All Rights Reserved.

ยา พระราชบัญญัติยา พ. ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติ ยา (ฉบับที่ ๖) พ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติยา พ. ๒๕๑๐ แชร์ข้อมูลหน้านี้ให้เพื่อน

ยา ยังลดความเข้มงวดในการตรวจสอบเภสัชชีววัตถุซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน โดยกำหนดให้ใช้วิธีจดแจ้งแทนที่จะใช้วิธีการขึ้นทะเบียนตำรับยาซึ่งมีความเข้มงวดมากกว่า เอื้อประโยชน์ใคร อาจารย์คณะคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุด้วยว่า นอกจากร่าง พ. ยา จะไม่คำนึงถึงหลักการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ของวิชาชีพ เพื่อช่วยกันดูแลผู้ป่วยให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยังขาดธรรมาภิบาล และมีลักษณะเอื้อประโยชน์ให้สถานประกอบการเอกชนมากกว่าจะมีลักษณะคุ้มครองผู้บริโภคหรือสร้างความมั่นคงด้านยา รวมทั้งขาดมาตรการควบคุมการขายยาผ่านสื่อสารสนเทศต่างๆ เช่น e-commerce, telepharmacy โดยภาพรวม ร่าง พ. ยา จึงดูเหมือนเป็นเรื่องธุรกิจ แต่แฝงว่าต้องการคุ้มครองประชาชน อ้างอิง: เอกสารเรื่อง 'ถาม-ตอบ ไขประเด็นดราม่า (ร่าง) พ. ยา ฉบับใหม่' โดย ภก. ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ วันที่ 3 กันยายน 2561 กองบรรณาธิการ ทีมงานหลากวัยหลายรุ่น แต่ร่วมโต๊ะความคิด แลกเปลี่ยนบทสนทนา แชร์ความคิด นวดให้แน่น คนให้เข้ม เขย่าให้ตกผลึก ผลิตเนื้อหาออกมาในนามกองบรรณาธิการ WAY

ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชี้ว่า ร่าง พ.

October 8, 2022