ร 10 พระ ราช สมภพ

๒๔๙๙ จนถึง พ. ๒๕๐๖ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสำเร็จการศึกษาขั้นต้นในระดับอนุบาล รุ่นที่ ๒ จากโรงเรียนจิตรลดา แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนคิงส์มีด แคว้นซัสเซกส์ และศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซทประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ พ. ๒๕๐๙ จนถึง พ. ๒๕๑๓ หลังจากนั้น ทรงศึกษาต่อวิชาทหารที่โรงเรียนคิงส์สกูล ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เสร็จแล้ว ทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์ (ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อ พ. ๒๕๑๙ เมื่อนิวัติประเทศไทยทรงรับราชการทหารแล้วทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ ๔๖ เมื่อ พ. ๒๕๒๐ ทรงเข้าศึกษาในสาขาวิชานิติศาสตร์ รุ่นที่ ๒ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช เมื่อ พ. ๒๕๒๕ ทรงสำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) และ พ. ๒๕๓๓ ทรงได้รับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักร สยามมกุฎราชกุมาร พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จัดขึ้นเมื่อมีพระชนมายุครบ ๒๐ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ขึ้นเป็น สยามมงกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.

พระราชประวัติรัชกาลที่ 10 - wall

2520 และทรงผนวช เมื่อ พ. 2521 จากนั้นพระองค์ทรงศึกษาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รุ่นที่ 2 เมื่อ พ. 2525 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จากประเทศอังกฤษ เมื่อ พ. 2533 ทั้งนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งเป็นพลเอกสามเหล่าทัพด้วยกัน ได้แก่ พลเอกกองทัพบกไทย พลเรือเอกกองทัพเรือไทย และพลอากาศเอกแห่งกองทัพอากาศไทย ด้านการบิน 4 พฤษภาคม พ. 2537 ทรงปฏิบัติหน้าที่ครูการบินเครื่องบินขับไล่แบบเอฟ-5 อี/เอฟ พ.

สวนหลวง ร.๙ | Suanluang RAMA IX

2537 กองทัพอากาศทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายเกียรติบัตรครูฝึกการบิน เครื่องบินขับไล่สมรรถนะสูง แบบ F-5 F/F จากการพระราชทานการฝึกสอนแก่นักบินขับไล่ของกองทัพอากาศ พ. 2547 ทรงเข้ารับการถวายการฝึกหลักสูตรนักบินโบอิ้ง 737 ของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และทรงสำเร็จหลักสูตรนักบินของการบินไทย โดยคณะผู้บริหารเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรกัปตันพร้อมฉลองพระองค์ชุดกัปตัน 16 ส. 2558 ทรงนำปั่นจักรยานกิจกรรม Bike for Mom "ปั่นเพื่อแม่" เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร 11 ธ. 2558 ทรงนำปั่นจักรยานกิจกรรม Bike for Dad "ปั่นเพื่อพ่อ" เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร 1 ธ. 2559 เสด็จขึ้นครองราชย์ สืบราชสันตติวงศ์ต่อจากพระราชบิดา ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อปวงชนชาวไทย 1 พ. 2562 ทรงประกอบพระราชพิธี ราชาภิเษกสมรสกับ พลเอกหญิงสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา และทรงมีพระราชโองการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีสุทิดา ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน.

ร. อ. ชัยวัฒน์ เอี่ยมสมุทร นายกรรณภว์ ธนภรรควิน และพล. นพดล โชคระดา รวมถึง นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง นำคณะผู้บริหาร นักเรียน และประชาชน ในพื้นที่ของอ. แม่ทะ จ. ลำปาง ร่วมถวายพระพรชัยมงคลถวาย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ 28 กรกฎาคม ทั้งนี้เพื่อสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีแก่ประชาชนและประเทศชาติและในโอกาสนี้ ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ ได้นำกล่าวปฏิญาณตน ว่า จะประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และสร้างสรรค์คุณประโยชน์แก่แผ่นดิน

พระราชประวัติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10

16 น. ปวงชนชาวไทยทั้งผอง ต่างปลาบปลื้มเป็นล้นพ้น เมื่อสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จออก ณ ห้อง UPPER MAIN CR. M (ห้อง วปร. ) พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พล. อ. เปรม ติณสูลานนท์ ผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พล.

หน้า มี รอย ดํา

พระราชประวัติ ‘สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว’ รัชกาลที่ 10 - The Bangkok Insight

ระหว่างวันที่ 1 – 31 กรกฎาคม 2563 3. พิธีถวายเครื่องราชสักการะและวางพานพุ่ม จากนั้นในช่วงเย็นวันเดียวกัน เวลา 18. ส่วนราชการในกรุงเทพฯ (ส่วนกลาง) จะทำพิธีถวายเครื่องราชสักการะและวางพานพุ่ม ณ ท้องสนามหลวง โดยไม่มีการจัดริ้วขบวน ส่วนภูมิภาคทุกจังหวัด จะมีการจัดพิธีถวายเครื่องราชสักการะฯ ณ ศาลากลางจังหวัดหรือสถานที่ที่เหมาะสม โดยจัดพิธีพร้อมกันกับในส่วนกลาง ส่วนในต่างประเทศให้กระทรวงการต่างประเทศแจ้งสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงกุลพิจารณาการจัดพิธีตามที่เห็นสมควรและเหมาะสม 4. พิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล ถัดมาในช่วงเวลา 19. จะเป็นการจัดพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล ณ ท้องสนามหลวง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดจัดพิธี ณ ศาลากลางจังหวัดหรือสถานที่ที่เหมาะสม ส่วนในต่างประเทศให้กระทรวงการต่างประเทศแจ้งสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลพิจารณาจัดพิธีตามที่เห็นสมควรและเหมาะสม 5. เชิญเครื่องราชสักการะทูลเกล้าฯ ถวาย จากนั้นวันพุธที่ 29 กรกฎาคม 2563 เวลา 08. เป็นการจัดพิธีเชิญเครื่องราชสักการะและพานพุ่ม โดยมีปลัดกระทรวงกลาโหมเป็นหัวหน้าคณะเชิญเครื่องราชสักการะและพานพุ่มจากท้องสนามหลวง นำไปทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน โดยไม่มีการจัดริ้วขบวน 6.

October 10, 2022